วันเสาร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2558

คําสั่ง for

3. คําสั่ง for

        คำสั่ง for เปนคําสั่งวนซํ้ าในลักษณะที่รูจํ านวนรอบของการวนซํ้ าที่แนนอน โดยแบงรูปแบบหลักออกเปน 3 สวน ไดแก
• สวนที่ใชกํ าหนดคาเริ่มตนหรือกํ าหนดคาตัวนับของการวนซํ้ า
• สวนที่ตรวจเงื่อนไขการวนซํ้ า
• สวนของการจัดการคาตัวนับของการวนซํ้า

                   for ( กําหนดคาตัวนับ ; เงื่อนไขการวนซํ้ า ; จัดการคาตัวนับ ) {
                             คําสั่ง1;
                             คําสั่ง2;
                    }

ขั้นตอนของการทํางานเมื่อพบคํ าสั่ง for มีดังนี้
1. ทําคําสั่งในการกําหนดคาตัวนับ
2. ตรวจสอบเงื่อนไขการวนซํ้า หากเปนเท็จจะหยุดและออกจากการทํางานของคําสั่ง for ไปทํางาน
คําสั่งหลังจากนั้น 49
3. กรณีเงื่อนไขการวนซํ้าเปนจริง จะทําคําสั่งในขอบเขตของ for นั้น คือภายใตเครื่อง { } จนกระทั่ง
หมด และไปทําคําสั่งจัดการคาตัวนับ ซึ่งอาจจะเปนการเพิ่มคาหรือลดคาตัวนับ หลังจากนั้นจะ
กลับทําตรวจสอบเงื่อนไขการวนซํ้าในขั้นตอนที่ 2 ทําเชนนี้เรื่อยไปจนกระทั่งเงื่อนไขการวนซํ้าเปน
เท็จ

          หากคําสั่งที่ตองทําในการวนซํ้ามีเพียง 1 คําสั่ง รูปแบบการเขียนจะเขียนเครื่องหมาย { } ครอบคําสั่งนั้นไวหรือไมก็ได แตถามีคําสั่งที่ตองทํ าซํ้ ามากกวา 1 คํ าสั่ง จะตองมีเครื่องหมาย { } แสดงขอบเขตของการทําวนซํ้าเสมอ

สิ่งที่ตองระวังในการเขียนคือ

              for (i = 0; i < 5; i++);
              printf(“Hello\n”);

            การใสเครื่องหมาย ; ตอทายคําสั่ง for เครื่องหมาย ; เปนคําสั่งที่เรียกวา Null Statement นับเปน
คําสั่ง 1 คําสั่ง โดยที่คําสั่งนี้จะไมทําอะไรเลย เพราะฉะนั้นในตัวอยางดังกลาว จะมีการวนทําซํ้าโดยไมทําอะไรเลย 5 รอบ แลวจึงพิมพขอความ Hello เพียงขอความเดียว แทนที่จะพิมพขอความ Hello 5 ครั้ง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น