วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558

คำสั่ง switch

2. คําสั่ง switch
       
         คําสั่ง switch เปนคําสั่งที่ใชในการเขียนประโยคเงื่อนไข มักจะใชกับกรณีที่เปนเงื่อนไข if แบบซับซอน ตัวอยางเชน ในเรื่องของการตรวจสอบชั้นปของนักศึกษา และใหพิมพขอความตามชั้นปที่กํ าหนด ดังตัวอยางที่ แสดงในหัวขอ 3.1.3 จะเห็นวามีการตรวจสอบนิพจนเงื่อนไข คือ ชั้นปของนักศึกษาในทุกเงื่อนไขเหมือนกันประโยคในลักษณะเชนนี้สามารถใชคํ าสั่ง switch มาชวยในการเขียน เพื่อชวยใหอานเขาใจไดมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เงื่อนไขที่จะนํ ามาตรวจสอบในคํ าสั่ง switch ไดจะตองมีคาเปนเลขจํ านวนเต็มหรือตัวอักขระเทานั้น ไมสามารถใชกับการตรวจสอบสตริง หรือขอมูลที่มีลักษณะเปนชวง มีรูปแบบของคํ าสั่ง switch คือ

               switch ( เงื่อนไข ) {
                    case คาคงที่1 : คํ าสั่ง1 ;
                    case คาคงที่2 : คํ าสั่ง2 ;
 
                 
                    default : คํ าสั่ง N ;
                  }

             การทํางานของคําสั่ง switch จะตรวจสอบเงื่อนไข วาตรงกับคา case ใด ก็จะไปทํ างานที่คํ าสั่งที่อยูใน case นั้น คํ าสั่งหนึ่งที่มักจะใชคูกับคํ าสั่ง switch คือ คํ าสั่ง break คําสั่งนี้ใชในการบอกใหโปรแกรมหยุด การทํางาน และกระโดดออกจากขอบเขตของ { } ที่ใกลที่สุด ซึ่งสามารถใชคํ าสั่งนี้รวมกับคํ าสั่งวนซํ้าอื่น ๆ อีกดวย

             คําสั่ง default ใน switch จะมีคาเหมือนกับ else ในคํ าสั่ง if-else ก็คือคาใด ๆ ก็ตามที่ไมใชคาที่
กําหนดใน case จะมาทํ าที่คํ าสั่ง default ซึ่งคํ าสั่ง default นี้จะมีหรือไมมีก็ได
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น